Gangubai ไขปริศนา การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์จากหนังคังคุไบ เจ้ากามธิปุระกับการเสียดสีสังคม
Gangubai ภาพยนตร์ที่มาแรงที่สุดแห่งปี 2022 ต้องยกให้กระแส ภาพยนตร์อินเดีย เรื่อง คังคุไบ Gangubai ภาพยนตร์ฟอร์มยักษ์ที่ฉาย ใน Netflix 2022 ทำจากเรื่องจริง ไม่อิงนิยาย เป็นเรื่องราวของเจ้าแม่ แห่งกามธิปุระ ผู้ที่มาเรียกร้องสิทธิ์ ให้กับบรรดาโสเภณี การเสียดสี
สังคม ชนชั้นที่มีอยู่จริง แต่ด้วยเนื้อหา และ วัฒนธรรมเป็นเรื่องจริง ที่เคยเกิดขึ้นในมุมไบ อาจจะทำให้ แฟนภาพยนตร์ ชาวไทยหลายคน ไม่สามารถตีความหมาย ที่สื่อออกมาได้หมด เช่น รอยแดงกลางหน้าผาก การดื่มชาจากจานรอง หรือ แม้แต่ฉากเต้น ที่ทั้งยิ้มแย้มและขมขื่น การแสดงออก เชิงสัญลักษณ์เหล่านี้ แฝงไว้ด้วยอะไร ไปหาคำตอบ พร้อมกันเลย เว็บพนันไก่ชน
Gangubai จากคุณหนูลูกสาวทนาย สู่เจ้าแม่พระแห่งโสเภณี
เชื่อว่าหลายคน อาจจะเกิดข้อสงสัยว่า ใครคือคังคุไบ ทำไมตัวของ คังคุไบ gangubai kathiawadi real pic จึงกล้าที่จะออกมา เรียกร้องสิทธิ และ เป็นนักเคลื่อนไหว ของเหล่าโสเภณี ทั้งที่อาชีพนี้ ไม่ได้รับการยอมรับ และ ถูกกดขี่มาโดยตลอดในอินเดีย ในความเป็นจริงแล้ว คังคุไบ หรือ คังคุไบ กฐิยาวาฑี เป็นลูกสาวของทนาย จากเมืองกุชราต แต่ด้วยความรัก อันเร่าร้อนของ วัยหนุ่มสาว ทำให้เธอถูก
ชายหนุ่ม ที่คบหาดูใจ หลอกมาขายในช่อง ที่กามธิปุระ เพื่อแลกกับเงิน อันน้อยนิด ด้วยความสวย บุคลิกอันโดดเด่น และการยอมรับว่า ตัวเองไม่สามารถ หลีกหนีต่อ ชะตากรรมนี้ได้ เธอจึงตั้งปณิธานเอาไว้ว่า สักวันเธอจะต้อง โค่นล้มป้าชีล่า แม่เล้าของซ่องให้จงได้
แน่นอนว่าเธอ ทำมันได้สำเร็จ ต่อมาจึงกลายเป็น เจ้าของซ่อง ให้ความช่วยเหลือดู ดูแลโสเภณีและลูก ๆ ของพวกเธอ อย่างเท่าเทียม รวมถึงการเรียกร้องสิทธิต่าง ๆ ที่โสเภณีพึงได้รับ เฉกเช่นคนทั่วไป ซีรีย์ฝรั่งย้อนยุค
Gangubai การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ จากหนังคังคุไบ
หลังจากที่คังคุไบ ขึ้นมาเป็นใหญ่ เธอทำให้ชีวิตของ ชาวกามธิปุระดีขึ้น นั่นเพราะไม่บังคับ ให้คนที่ไม่เต็มใจ มาค้าประเวณี สไตล์ การแต่งตัวของเธอ ตลอดวิธีการแสดงออก ก็เริ่มเปลี่ยนไป ดูมีความเป็นผู้นำ แต่ในขณะเดียวกัน มันก็แฝงการแสดง ออกเชิงสัญลักษณ์ เอาไว้ด้วย
1.การดื่มชาจากจานรอง
ฉากนี้แม้จะเป็น รายละเอียดเล็กน้อย แต่มันก็ทำให้หลาย คนรู้สึกสงสัยไม่น้อย ว่าฉากที่เข้าพบรัฐมนตรี ทำไมเธอจึงเลือกที่จะดื่มชา จากจานรองถ้วยชา แทนการดื่ม จากถ้วยชาปกติ นั่นเพราะสถานการณ์ในช่วงนั้น เกิดขึ้นในขณะที่อินเดีย ผู้ปกครองโดยอังกฤษ
อย่างที่รู้กันดีว่า วัฒนธรรมการดื่มชา ก็มาจากอังกฤษ ในอินเดีย ผู้ที่มีวรรณะสูงเท่านั้น จึงจะมีสิทธิ์ได้ดื่มชา เพราะในสมัยนั้น ชามีราคาแพง และ เป็นการบ่งบอกถึง การแยกชนชั้นวรรณะ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ลักษณะของการดื่มชา หากเป็นอังกฤษ จะใช้ถ้วย
เซรามิก หากเป็นผู้ที่มีฐานะในอินเดีย ก็จะดื่มจากถ้วยสแตนเลส ชาวบ้านทั่วไป จะดื่มชาจาก ภาชนะดินเผา แต่ผู้ที่อยู่ในวรรณะล่าง ของสังคม จะใช้ “ระกาบี” โดยมีลักษณะเป็น จานแบนคล้ายกับ จานรองแก้ว เพราะพวกเขาต้องการ ให้น้ำชาเย็นเร็วขึ้น รีบดื่มและรีบไปทำงาน ไม่มีเวลาดื่มด่ำ กับ รสชาติชาเหมือนกับ วรรณะอื่น
2.การแต้มสีชาดกลางหน้าผาก
ใบหน้าของคังคุงดงาม และ เธอมักจะแต้มบินดิ (Bindi) สีแดงชาดกลาง หน้าผาก gangubai harjivandas ซึ่งสีแดงนี้ เป็นลักษณะ การแต่งตัวตามธรรมเนียม ของชาวฮินดู ซึ่งบินดินี้ทำมาจาก ผงสีแดง และตำแหน่งที่แต้ม ก็คือระหว่างหัวคิ้ว เชื่อว่าเป็นตำแหน่ง
ของ ภูมิปัญญา หากแต้มบินดิไว้ บริเวณดังกล่าว จะทำให้บุคคลนั้น พบแต่ความเจริญรุ่งเรือง และบางทีเรา มักจะพบการแต้มบินดิ ตรงกลางหน้าผาก ของหญิงสาวที่มีสามีแล้ว เพราะนี่เป็นสัญลักษณ์ ของพระแม่ปารวตี เป็นสัญลักษณ์ ที่บ่งบอกว่า หญิงคนดังกล่าว
แต่งงานแล้ว เป็นการป้องกัน การถูกเกี้ยวพา จากชายคนอื่น และป้องกันการริษยา จากหญิงคนอื่น ได้เช่นเดียวกัน ซึ่งตลอดชีวิตของ คางคุใบ ไม่มีสามี ไม่มีลูก แต่เธออุปการะ บุตรบุญธรรม ซึ่งเป็นเด็กที่เกิดจาก ความไม่ได้ตั้งใจ
3.การสวมชุดสีขาว
หลังจากที่เธอเป็นใหญ่ คังคุไบ ก็เลือกที่จะสวม ส่าหรีสีขาว อยู่ตลอดเวลา ซึ่งตามความเชื่อนั้น ส่าหรีสีขาวบ่งบอกถึง ความบริสุทธิ์ ความสงบเรียบง่าย และ การที่เธอได้ สวมใส่ชุดสีขาว ก็เปรียบเสมือนกับ การได้รับชีวิตใหม่ ชีวิตที่ไม่ใช่โสเภณี เหมือนที่ผ่านมา
ชีวิตที่เธอกำหนดเอง ได้ต่อให้เธอจะไม่ใช่ ผู้หญิงบริสุทธิ์ก็ตาม อีกทั้งในเชิงสัญลักษณ์ ของชาวฮินดูเชื่อว่า ส่าหรีสีขาว gangubai kathiawadi wikipedia จะถูกสวมใส่ เมื่อสามีตายจากไป และเป็นการแสดง ความไว้อาลัยของภรรยา หรือ เป็นสัญลักษณ์ของ แม่หม้ายนั่นเอง
4.การเต้นเฉลิมฉลองเทศกาลนวราตรี
ต้องยอมรับว่า นอกจากฉาก การปราศรัยของคังคุแล้ว ฉากการเต้นเฉลิมฉลอง ก็ถือเป็นอีกหนึ่งไฮไลท์ ที่ถูกพูดถึงเป็นอย่างมาก เป็นความลังการที่ตราตรึง แต่ในขณะเดียวกัน ก็สร้างความสงสัย ให้กับบรรดาแฟนหนังว่า ทำไม คังคุ ที่ตอนแรกเต้น ด้วยใบหน้า
เปี่ยมสุข แต่สุดท้ายกลับ กลายเป็นเต้นด้วย ใบหน้าขมขื่น ในขณะที่สาว ๆ ในกามธิปุระคนอื่น กลับยืนนิ่ง นั่นก็เพราะมีความเชื่อว่า โสเภณี คือคนต้อยต่ำ พวกเธอไม่มีสิทธิ์ ที่จะได้เฉลิมฉลอง บวงสรวงเทพเจ้า และ พวกเธอเป็นคนบาป เกินกว่าจะได้รับพร
คังคุไบคืออะไร เป็นผู้ที่นำ พิธีเฉลิมฉลองนี้ เข้ามาในกามธิปุระ ทุกคนดูเหมือน จะมีความสุข ในตอนต้น ทว่าในท่อนที่ร้องสรรเสริญ ถึงองค์เทพ สาว ๆ คนอื่นจึงพากันหยุดเต้น แต่คังคุ ยังคงพยายามเต้น ด้วยความร่าเริงแต่ในใจ กลับขมขื่นที่พวกเธอ ไม่มีแม้แต่เสรีภาพ ในการขอพร ซึ่งนี้เป็นการแสดงออก เชิงสัญลักษณ์ว่า พวกเธอในกามธิปุริมีค่ามากพอ ที่จะได้รับการอวยพร จากพระเจ้าเช่นกัน
สำหรับใครที่อยากชมความสนุกของภาพยนตร์แดนภารตะที่ขึ้นชื่อเรื่องความอลังการ ซึ่งได้นักแสดงบอลลีวูดค่าตัวแพงอย่าง อาเลีย บาตด์ มารับบทเป็นเจ้าแม่แห่งแดนกามธิปุระ ซึ่งตอนนี้กลายเป็นภาพยนตร์ยอดฮิตติดอันดับ 1 ของ Netflix ไปเรียบร้อยแล้ว ฉากสุดอลังการ
ที่เห็นในภาพยนตร์เป็นการจำลองเมืองขึ้นมาใหม่ การดำเนินเรื่องไม่อืดอาดเหมือนกับหนังอินเดียทั่วไปที่เคยดูมาอย่างแน่นอน เนื้อหาสมจริง แสดงออกตรงไปตรงมาถึงการแบ่งแยก การเลือกปฏิบัติ รวมถึงการตกเป็นเหยื่อของหญิงสาวในแดนกามธิปุระ ที่ถูกทองเป็นชนชั้นล่าง เป็นเหมือนอาชญากรทั้งที่พวกเธอต่างหากคือคนถูกกระทำ!